เมื่อคนในครอบครัวมีอายุมากขึ้นอาจจะมีอาการหลงลืมในผู้สูงอายุจากสมองที่เสื่อมโทรมลงไปตามวัย ทำให้ลูกหลานต้องหมั่นดูแลอาการหลงลืมในผู้สูงอายุรักษาด้วยวิธีที่ดีต่อผู้สูงวัย เพื่อส่งเสริมให้อาการหลงลืมในผู้สูงอายุการรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรเทาอาการเหล่านี้ลงได้
อาการหลงลืมที่เกิดขึ้นทั่วไปอาจจะมาจากสมองทำงานช้าลงหรือเสื่อมประสิทธิภาพ แต่อาการหลงลืมในผู้สูงอายุบางอาการก็เป็นจุดเริ่มต้นของการเป็นโรคอัลไซเมอร์ ซึ่งคนที่มีแนวโน้มว่าจะเป็นโรคอัลไซเมอร์นั้นมักจะแสดงอาการดังต่อไปนี้
ดังนั้นถ้าผู้สูงวัยที่บ้านเริ่มแสดงอาการแบบนี้ก็อาจจะมีความเสี่ยงที่จะเป็นอาการหลงลืมในผู้สูงอายุที่นำไปสู่โรคอัลไซเมอร์ ซึ่งเราก็ควรจะดูแลผู้สูงอายุให้ถูกวิธีเพื่อดูแลผู้สูงอายุให้ห่างไกลจากโรคหลงลืมนั่นเอง
วิธีดูแลอาการหลงลืมในผู้สูงอายุมีอะไรบ้าง?
วิธีดูแลอาการหลงลืมในผู้สูงอายุนั้นเป็นสิ่งที่สามารถทำได้อย่างง่ายดาย เพียงเริ่มต้นจากการกินอาหารที่มีประโยชน์และเริ่มทำกิจกรรมที่ส่งผลดีต่อการทำงานของสมอง ซึ่งในหัวข้อนี้เราได้รวบรวมมาให้แล้วว่าวิธีดูแลอาการหลงลืมในผู้สูงอายุรักษาให้มีประสิทธิภาพต้องทำอย่างไรบ้าง? ตามไปดูกันเลย
ดื่มน้ำให้เพียงพอ
จริง ๆ แล้วการดูแลอาการหลงลืมในผู้สูงอายุการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพนั้นสามารถทำได้ง่าย ๆ เพียงแค่เริ่มดื่มน้ำให้เพียงพอ หรือดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้วต่อวัน เพราะการดื่มน้ำให้เพียงพอจะสามารถป้องกันภาวะร่างกายขาดน้ำที่อาจส่งผลมีอาการปวดหัว สับสน และมีอาการหลงลืม
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
อาการหลงลืมในผู้สูงอายุสามารถดูแลได้เพียงแค่เริ่มต้นออกกำลังเป็นประจำอย่างน้อย 5 วันต่อสัปดาห์ ครั้งละประมาณ 30 นาที เพราะการออกกำลังกายจะทำให้กล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ได้มีการเคลื่อนไหว ซึ่งจะสอดคล้องกับการทำงานของสมองด้วย เรียกได้ว่าเป็นวิธีดูแลอาการหลงลืมที่ทำง่ายและสะดวกมาก ๆ
กินอาหารมีประโยชน์
การกินอาหารที่มีประโยชน์ก็เป็นสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยผู้สูงอายุที่เริ่มมีอาการหลงลืมนั้นควรจะกินอาหารที่อุดมไปด้วยโอเมก้า 3 เช่น ปลาทูน่า ปลาเทราต์ วอลนัต และเมล็ดแฟลกซ์ ซึ่งสามารถนำวัตถุดิบเหล่านี้มาปรุงอาหารหลากหลายเมนูได้เลย
เล่นเกมฝึกความจำ
เมื่ออาการหลงลืมในผู้สูงอายุส่งผลต่อความจำของผู้สูงอายุ เราจึงจำเป็นจะต้องหากิจกรรมที่สามารถฝึกฝนและส่งเสริมการทำงานของสมองได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างการเล่นเกมฝึกความจำ เช่น บอร์ดเกม ทายคำ เป็นต้น เพราะเกมที่ใช้สมองเหล่านี้จะสามารถกระตุ้นให้สมองทำงานได้ดี
ออกไปสถานที่ใหม่ ๆ
อีกหนึ่งวิธีที่ช่วยให้อาการหลงลืมในผู้สูงอายุรักษาได้ดีก็คือการได้ออกไปยังสถานที่ใหม่ ๆ เพราะการได้สัมผัสกับบรรยากาศที่ดีนั้นจะสามารถทำให้ผู้สูงอายุผ่อนคลาย รวมถึงได้มีโอกาสลองทำกิจกรรมต่าง ๆ ตามสถานที่ที่ไปด้วยนั่นเอง
ทำงานศิลปะ
การทำงานศิลปะก็ดีต่อการดูแลอาการหลงลืมเช่นกัน เพราะงานศิลปะจะทำให้ได้ฝึกใช้ความคิดสร้างสรรค์และได้ใช้จินตนาการอย่างเพลิดเพลิน เช่น การวาดรูป ระบายสี เป็นต้น
บอกเลยว่าเพียงนำวิธีการดูแลอาการหลงลืมในผู้สูงอายุไปใช้ก็สามารถทำให้อาการหลงลืมในผู้สูงอายุรักษาได้ง่ายมากยิ่งขึ้น แถมวิธีการดูแลต่าง ๆ เหล่านี้ยังส่งเสริมให้อาการหลงลืมในผู้สูงอายุการรักษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย
บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที