สื่งสำคัญสำหรับการเตรียมตัวสอบ ก.พ. คือความรู้ ฉนั้นเราควรมีการการอ่านหนังสือสอบ และทำข้อสอบของปีเก่าๆให้มากๆ โดยปัจจุบันมีระบบเรียนออนไลน์ และหนังสือคู่มือให้อ่านเยอะอยู่แล้ว หากไม่รู้จะเริ่มต้นอ่านที่ไหนก็ลองปรึกษาคอร์สออนไลน์การสอบสอบ ก.พ. หรือเริ่มต้นอ่านหนังสือเตรียมตัวสอบ ก.พ. ที่มีอยู่ก่อนก็ได้โดยเรามีเทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ให้เพื่อนได้ลองทำดู
การเตรียมตัวก่อนสอบ ก.พ.นับว่าเป็นการแข่งขันในระดับใหญ่เนื่องจากในแต่ละปีมีผู้เข้าสอบมากกว่า 5 แสนคน โดยอัตราการสอบผ่านมีประมาณ 1 ใน 5 ของแต่ปีที่ผ่านมา นับว่าเป็นแข็งขันกับอีก 5 แสนคน โดยที่เราประมาทไม่ได้ ยกตัวอย่างเช่นการสอบเตรียมสอบ ภาค ก โดยในระดับนี้เราต้องแข่งขันกับคนอีกจำนวน 1 แสนคน ฉนั้น เราควรหาหนังสือเตรียมสอบ ก.พ. ไว้นะ
เมื่อนึกถึงราชการเราจะนึกถึงความมั่นคงในอาชีพ งานราชการนับว่าเป็นอาชีพมีเป็นประโยชน์ต่อชาติ
ฉนั้นเมื่อสอบ ก.พ. เราต้องนึกถึงเครื่องแบบราชการที่เราจะได้สวมด้วยนะ
เมื่อสอบ ก.พ. นอกจากอ่านหนังสือแล้วเราควรเข้าใจโครงการของเนื้อมีเราจะสอบด้วยเช่น
- วิชาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (คณิตศาสตร์ + ภาษาไทย) : คะแนนเต็ม 100 คะแนน
ระดับต่ำกว่าปริญญาตรีและระดับปริญญาตรี 60 คะแนน ระดับปริญญาโทต้องได้คะแนนไม่ต่ำกว่า 65 คะแนน สอบ ก.พ. Part นี้เป็นการทดสอบการคิดวิเคราะห์ภาษาไทย และ การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ (คณิตศาสตร์)
- วิชาภาษาอังกฤษ : คะแนนเต็ม 50 คะแนน คะแนนไม่ต่ำกว่า 25 คะแนน
สอบ ก.พ. Part นี้เป็นการทดสอบทักษะความเข้าใจภาษาอังกฤษวัดความสามารถด้านการอ่าน, ไวยากรณ์ และ ความรู้เกี่ยวกับศัพท์พื้นฐานทั่วไป
- วิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี : คะแนนเต็ม 50 คะแนน คะแนนไม่ต่ำกว่า 30 คะแนน
สอบ ก.พ. Part นี้เป็นการทดสอบความรู้พื้นฐานการเป็นข้าราชการที่ดี ได้แก่ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน, หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี หน้าที่และความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ และจริยธรรมข้าราชการ
เริ่มต้นศึกษาเนื้อหาย่อยของแต่ละ Part ในข้อสอบ เช่นเนื้อหาข้อสอบภาษาอังกฤษ เช่น การอ่าน, ไวยากรณ์อังกฤษ และคำศัพท์ศัพท์พื้นฐาน หรือ Part ภาษาไทย ที่มีทั้งคณิตศาสตร์ก็ศึกษาแต่ละหมวดหมู่ที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ที่จะมีในข้อสอบ ก.พ.
การหาจุดอ่อนของตัวเองเริ่มจากการทำข้อสอบ ก.พ. ปีก่อนๆ ถ้าเรารู้ว่าเราอ่อนข้อไหนเราควรอ่านวิชานั้นๆเพิ่มขึ้น
เทคนิคการการอ่านหนังสือก่อนสอบ ก.พ. ควรอ่านหนังสือก่อนสอบอย่างน้อย 3 เดือนและอ่านแต่ละหมวดหมู่ไปเลยเพื่อเพิ่มการจดจำในเนื้อหานั้น ๆ ได้ดีขึ้น
การติวออนไลน์จะเป็นการเจาพเข้าไปในแต่ละเนื้อหาของข้อสอบ ก.พ. เพื่อให้ผู้ต้องการสอบเห็นภาพรวมของเนื้อหาที่จะออกสอบเพิ่มมากขึ้น
นอกจากศึกษาเนื้อหาแล้วเราควรจดจำเนื้อหาต่างๆที่เรียนมาหรืออ่านมาด้วยการทบทวนเนื้อหาจะช่วยในการสอบ ก.พ. ได้แน่นอน
การทำข้อสอบ ก.พ. เก่าๆช่วยให้เรารู้ข้อบกพร่องในการทำข้อสอบหรือรู้ถึงข้อผิดพลาดในแต่ละข้อที่เราอ่านมาจากหนังสือได้ อีกทั้งการทำข้อสอบเราควรจับเวลาในการทำข้อสอบด้วย เพราะในหน้องสอบเค้ามีเวลาให้เราจำกัดนะ
ติดตามการประกาศการสอบของสำนักงานสอบ ก.พ. เสมอๆเพื่อให้เราจะได้ไม่พลาดในการสอบ ก.พ.
นอกจากเตรียมตัวอ่านหนังสือแล้วเราต้องเตรียมตัวไปสอบ ก.พ. ด้วยนะ เช่น เวลาในการเดินทางไปสอบ ก.พ. เตรียมตัวอุปกรณ์ในการสอบ ก.พ. การแต่งกายในการรับการเข้าสอบ ก.พ. ก็ควรแต่งกายให้สุภาพด้วยหล่ะ
- เริ่มอ่านจริงจังอย่างน้อย 3 เดือนก่อนสอบ
เวลาอ่านหนังสือน้อยหรือมากก็ขึ้นอยู่กับแต่ละคน เพราะเรามีเวลาว่างที่แตกต่างกัน แต่ถ้าจะให้แนะนำการสอบ ก.พ. ควรมีการเตรียมอ่านหนังสือเพื่อเตรียมตัวสอบ ก.พ.อย่างน้อย 3 เดือน ถ้ามีเวลาว่างก็อ่านเลยแล้วกัน
- อ่านเริ่มเพื่อเตรียมตัวสอบ ก.พ. ไปทีละวิชา
เพราะการอ่านหนังสือเราต้องโฟกัสและจะจำเนื้อหาที่เรียน การเข้าใจอะไรเยอะๆนั้นต้องการเวลาและความสม่ำเสมอ ฉนั้นพี่แนะนำว่าให้อ่านก่อนการเตรียมสอบ ก.พ. แต่ละวิชาวิชาไป เพื่อให้ได้รับความร็วิชานั้นๆได้เต็มที่ ถ้าจะให้ดีก็เริ่มอ่านวิชาสำคัญหรือยากๆก่อน เพราะเมื่อเวลาผ่านไปอาจทำให้ลืมได้ ฉนั้นการเรื่องอ่านวิชายากๆก่อนจะได้มีเวลามาทบทวนเนื้อหาที่หลงลืมไป
- ควรอ่านเนื้อหาให้จบ 1-2 เดือนก่อนสอบ
วางแผนให้จบประมาณ 1-2 เดือนก่อนสอบเพื่อที่จะได้มีเวลาในการทดทวนเนื้อหาซ้ำหรือเตรียมตัวทำข้อสอบ ก.พ. ของปีก่อนๆได้เลย เมื่อทำข้อสอบ ก.พ.เสร็จแล้ว เราจะได้เช็คคำตอบที่เราได้และเราสามารถทบทวนเนื้อหาจากหนังสือที่เราทำพลาดได้
สอบ ก.พ. คือ การสอบความรู้ความสามารถเพื่อคัดเลือกบุคคล เข้ามาทำงานในหน่วยงานราชการ การเตรียมตัวก่อนสอบ ก.พ.นับว่าเป็นการแข่งขันในระดับใหญ่ เนื่องจากในแต่ละปีมีผู้เข้าสอบมากกว่า 5 แสนคน โดยอัตราการสอบผ่านประมาณ 1 ใน 5 ของแต่ปีเท่านั้น
แต่วิชาที่ออกสอบได้แก่ ความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์, วิชาภาษาอังกฤษ, วิชาความรู้พื้นฐานการเป็นข้าราชการ เราจึงต้องเตรียมตัวสอบ ก.พ. และเข้าใจในการทำข้อสอบ ไม่ว่าจะเป็นการอ่านหนังสือ การฝึกทำข้อสอบ ก.พ. และเข้าใจในโครงสร้างข้อสอบ เพื่อเตรียมตัวในการสอบและพร้อมเพื่อรับงานราชการ
บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที