นักวิทยาศาสตร์ระบุว่าอีก 10 ปี ยาเบาหวานอินซูลินที่ใช้รักษาโรคเบาหวานประเภทที่ 2 อาจมีไม่พอกับความต้องการผู้ป่วยทั่วโลกจำนวนกว่า 400 ล้านคน ที่มีอายุ 20-79 ปี และคาดว่าผู้ป่วยอาจเพิ่มเป็นจำนวน 500 ล้านคน ในปี 2030 หรือหมายความว่ามีผู้ป่วยกว่า 80 ล้านคนที่ต้องการอินซูลิน และเป็นไปได้ว่ายานี้ไม่สามารถเข้าถึงผู้ป่วยในเอเชียและแอฟริกา
ยาอินซูลินที่เว็บ https://www.gdyna.com/category/6/ยาเบาหวาน นี้ และทั่วโลกใช้กันอยู่นั้น ถูกใช้งานมานานถึง 97 ปีแล้ว และราคาก็ไม่ได้ลดลงเลย หนึ่งในเหตุผลที่เป็นเช่นนี้ คือเรื่องการตรลาดที่บริษัทผลิตยายักษ์ใหญ่ 3 แห่ง ได้กุมกระบวนการผลิตไว้ถึง 99% ทั่วโลก ถึงแม้มี 90 ประเทศที่ออกมาตรการปลอดภาษีสำหรับอินซูลิน แต่ตัวยาก็ยังมีราคาแพงอยู่ดีสำหรับหลายคน
แม้แต่สหรัฐฯเอง ก็ต้องยอมจ่ายภาษีสำหรับอินซูลินเพิ่ม 89% ตั้งแต่ปี 2000-2010 หรือแม้แต่ผู้มีสิทธิประกันราคายาก็เพิ่มขึ้นจาก 40$ เป็น 130$ และยาเพียงหนึ่งขวด ส่วนมากก็ใช้ได้เพียงสองสัปดาห์ ซึ่งการควบคุมตลาดอินซูลินทั่วโลกจึงเป็นเรื่องที่ทำได้ยากยิ่ง จึงทำให้หลายคนต้องเปลี่ยนชนิดของอินซูลิน และต้องถอนยาบางตัวออกไปจากส่วนผสมโดยปราศจากทางเลือก
อินซูลินแบ่งออกได้หลายประเภท และแพทย์จะเลือกชนิดที่เหมาะสมกับผู้ป่วยให้มากที่สุด ด้วยราคาที่แพง ทำให้ประเทศที่มีรายได้น้อยถึงปานกลางอาจต้องหยุดการนำเข้ายา และยังมีอีกหลายประเทศที่ไม่มีความรู้ที่สามารถผลิตอินซูลินใช้เองได้
อีกหนึ่งเหตุผลคือยาเบาหวานอินซูลินคัดลอกได้ยาก ด้วยโครงสร้างที่ซับซ้อน ทำให้บริษัททั่วไปมองว่ามันไม่คุ้มค่าลงทุน นอกจากนี้ นักวิทยาศาสตร์ยังกล่าวว่าอินซูลินควรรวมอยู่ในแพคเกจคุ้มครองสุขภาพสากล ซึ่งกองทุนโรคเบาหวานก็ควรมอบเงินส่วนหนึ่งในการจัดสรรและดูแลยาให้มีประสิทธิภาพด้วยเช่นกัน.
บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที