พื้นที่ประเทศไทยมีทั้งหมด 320.7 ล้านไร่
ตารางข้างล่างนี้แสดงพื้นที่ป่าของประเทศไทย ในช่วงปี 2504-2547
ปี |
พื้นที่ป่า |
%พื้นที่ป่า |
2504 |
171,017,013 |
53.33 |
2516 |
138,578,125 |
43.21 |
2519 |
124,010,625 |
38.67 |
2521 |
109,515,000 |
34.15 |
2525 |
97,875,000 |
30.52 |
2528 |
94,291,349 |
29.40 |
2530 |
91,294,152 |
28.47 |
2531 |
89,880,182 |
28.03 |
2532 |
89,635,625 |
27.95 |
2533 |
87,488,536 |
27.28 |
2534 |
85,436,251 |
26.64 |
2535 |
84,344,169 |
26.30 |
2536 |
83,450,625 |
26.02 |
2537 |
82,801,563 |
25.82 |
2538 |
82,178,161 |
25.62 |
2539 |
81,808,415 |
25.51 |
2540 |
81,441,164 |
25.39 |
2541 |
81,076,428 |
25.28 |
2542 |
80,610,219 |
25.14 |
2543 |
106,319,250 |
33.15 |
2547 |
104,744,363 |
32.66 |
พื้นที่ป่ามีแนวโน้มลดลง ลองมาดูจำนวนพื้นที่ป่าอนุรักษ์บ้าง
ปี |
ป่าอนุรักษ์ |
%ป่าอนุรักษ์ |
2522 |
1,929.23 |
0.0006 |
2523 |
2,139.96 |
0.0007 |
2524 |
2,769.86 |
0.0009 |
2525 |
2,898.98 |
0.0009 |
2526 |
2,955.39 |
0.0009 |
2527 |
3,053.88 |
0.0010 |
2528 |
3,080.15 |
0.0010 |
2529 |
3,167.33 |
0.0010 |
2530 |
3,241.08 |
0.0010 |
2531 |
3,407.20 |
0.0011 |
2532 |
3,620.98 |
0.0011 |
2533 |
3,811.67 |
0.0012 |
2534 |
4,155.95 |
0.0013 |
2535 |
4,305.56 |
0.0013 |
2536 |
4,309.11 |
0.0013 |
2537 |
4,406.98 |
0.0014 |
2538 |
4,538.18 |
0.0014 |
2539 |
4,687.19 |
0.0015 |
2540 |
4,751.25 |
0.0015 |
2541 |
4,908.11 |
0.0015 |
2542 |
5,252.32 |
0.0016 |
2543 |
5,594.78 |
0.0017 |
2544 |
5,600.18 |
0.0017 |
2545 |
5,663.52 |
0.0018 |
2546 |
5,685.80 |
0.0018 |
2547 |
5,705.58 |
0.0018 |
ที่มา: กรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
จะเห็นว่าพื้นที่ป่าอนุรักษ์ยังมีน้อยมาก
ป่ามี 3 ประเภท
1. ป่าดงดิบ
2. ป่าผลัดใบ
3. ป่าชายเลน
ลักษณะของการอนุรักษ์แบ่งเป็น 3 ชนิด
1. อุทยานแห่งชาติ พื้นที่ป่าใหญ่ที่เป็นธรรมชาติห่างไกลชุมชน
2. เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตที่ประกาศให้เป็นพื้นที่อนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า
3. วนอุทยาน พื้นที่ป่าที่มีธรรมชาติสวยงามเหมาะเป็นแหล่งท่องเที่ยว แต่ต้องไม่เสริมเติมแต่งพื้นที่จนเสียความเป็นธรรมชาติ
พื้นที่ป่าเหล่านี้จะเปิดให้ประชาชนเข้าไปเที่ยวได้ แต่ต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบอย่างเข้มงวด
ในความเป็นจริง ป่าบางส่วนที่อยู่ใกล้กับบริเวณป่าอนุรักษมักจะถูกบุกรุกโดยชาวบ้านในบริเวณใกล้เคียง โดยจับจองแผ้วถางเป็นที่ดินเหยียบย่ำแล้วเข้าไปทำกิน และให้ผู้ใหญ่บ้านทำหน้าที่รับรองกรรมสิทธิ์ เมื่อเวลาผ่านไป 10 ปี จะทำการขายต่อให้ผู้อื่นในราคาถูก โดยให้ผู้ใหญ่บ้านรับรองเห็นชอบด้วย ที่ดินดังกล่าวไม่มีเอกสารแสดงกรรมสิทธิ์แต่อย่างใด ส่วนชาวบ้านที่ถือสิทธิ์เดิม จะทำการแผ้วถางป่าต่อไป เพื่อสร้างวัฏจักรนี้ต่อไป ผู้ถือกรรมสิทธิ์ใหม่อาจจัดทำเป็นรีสอร์ท หรือทำเป็นสวนเกษตร นี่เป็นสาเหตุอย่างหนึ่งที่ทำให้พื้นที่ป่าอุดมสมบูรณ์ลดน้อยลง
เห็นด้วยกับโครงการสร้างฝายชะลอน้ำของบริษัทปูนซีเมนไทย ดูรายละเอียดโครงการได้ที่ http://www.siamcement.com/newsite/th/social_responsibility/environment_protection.asp
ในขณะที่มีคนจำนวนหนึ่งพยายามที่จะเพิ่มพื้นที่ป่า แต่คนอีกจำนวนหนึ่งเพียรพยายามจะทำลายป่า อยากเชิญชวนให้ทุกท่านช่วยกันปลูกต้นไม้ เช่น ปลูกพันธุ์ไม้ในร่มภายในบ้าน ปลูกต้นไม้ในขวดน้ำ ปลูกต้นไม้ในพื้นที่บริเวณรั้วบ้าน ถ้าไม่มีที่จริงๆ ปลูกไม้กระถางแขวนก็ยังได้ เพื่อเพิ่มบรรยากาศ ฟอกอากาศให้บริสุทธิ์ เป็น กลยุทธ์ป่าในเมือง คะ
บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที