Step1: Planning and Preparation
จุดประสงค์:
เพื่อเป็นการกำหนด ผลิตภัณฑ์ /กระบวนการใดจะรวมหรือจะไม่รวมในโครงการ FMEA
– การระบุโครงการ
– แผนโครงการ: (5T)
– การระบุ FMEA พื้นฐานพร้อมบทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned)
Step 2: Structure Analysis
วัตถุประสงค์:
มีการระบุ System, Subsystem, Component สำหรับการวิเคราะห์ และความเชื่อมโยง, การคัดเลือกการบ่งชี้สำหรับหัวข้อการออกแบบเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ระบุและแยกส่วนระบบการผลิตลงใน Process Items, Process step, Work Elements.
Step 3: Function Analysis
วัตถุประสงค์: เพื่อกำหนดเกี่ยวกับฟังก์ชัน / ความต้องการที่ตั้งใจไว้ของผลิตภัณฑ์และกระบวนการ
Step 4: Failure Analysis
วัตถุประสงค์:
ระบุสาเหตุความล้มเหลว (FC) ความล้มเหลว (FM) และผลกระทบ (FE)
Step 5: Risk Analysis
วัตถุประสงค์: ประเมินความเสี่ยงโดยการประเมินความรุนแรงการเกิดการตรวจจับการกำหนดการป้องกันและควบคุมการตรวจจับ
Step 6: Optimization
วัตถุประสงค์:
– กำหนดการกระทำเพื่อลดความเสี่ยง
– การระบุการกระทำที่จำเป็นเพื่อลดความเสี่ยง
– การมอบหมายผู้รับผิดชอบ
– การดำเนินการแก้ไข และการปรับแก้เอกสารการปฏิบัติงาน
– การทำงานร่วมกันระหว่างทีม, ลูกค้า, ซัพพลายเออร์
Step 7: Risk Communication
วัตถุประสงค์:
สรุปและสื่อสารผลลัพธ์ของความล้มเหลวและผลกระทบ
สุขุม รัตนเสรีเกียรติ
Sukhum Rattanasereekiat
Quality Management Trainer and Consultant.
www.pmcexpert.com
#pmcexpert.co.th
Facebook: sukhum.com
บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที