อรุณโรจน์

ผู้เขียน : อรุณโรจน์

อัพเดท: 19 ส.ค. 2012 14.40 น. บทความนี้มีผู้ชม: 13045 ครั้ง

1.การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง(lndividual Improvement)
2.การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
3.การบำรุงรักษาตามแผน (Planned Maintenance)
4.การศึกษาและการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มทักษะการทำงารและการบำรุงรักษา(Operation and Maintenance Skill Development)
5.การคำนึงถึงการบำรุงรักษาตั้งแต่ขั้นการออกแบบ (Initial Phase Management)
6.ระบบการบำรุงรักษาเพื่อคุณภาพ (Quality Maintenance)
7.ระบบการทำงานของฝ่ายบริหารที่ตระหนักถึงประสิทธิภาพการผลิตหรือเรียกว่า TPM ในสำนักงาน (TPM in Office)
8.ระบบชีวะอนามัย ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมภายในโรงงาน (Safety, Hygiene and Working Environment)

ในเสาหลักที่1,2และ3เป็นเสาหลักที่ต้องดำเนินการให้เกิด TPM ในส่วนผลิต. โดยก่อนเริ่มการดำเนินการและขณะดำเนินการต้องมีการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะอยู่ตลอดเวลา. ซึ่งถือเป็นหน้าที่ในเสาหลักที่4. ส่วนเสาหลักที่5 ถือเป็นขั้นสูงของ TPM. ในส่วนผลิตเนื่องจากเป็นการปลูกฝังการบำรุงรักษาให้ติดไปกับตัวเครื่องจักรอุปกรณ์. วัตถุดิบ. กรรมวิธีการผลิต. วิธีการทำงาน. รวมถึงการออกแบบและวางผังโรงงานหรือกระบวนการ. สำหรับสำหลักที่. 6,7 และ8เป็นเสาหลักที่ดำเนินการเพื่อขยาย. TPM. จากส่วนผลิตเข้าไปสู่. TPM ทั่วทั้งองค์การ


แปดเสาหลักของTPM


บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที