editor

ผู้เขียน : editor

อัพเดท: 03 พ.ย. 2006 16.27 น. บทความนี้มีผู้ชม: 9809 ครั้ง

รูปและเนื้อหาข้างล่างต่อไปนี้นำมาจากบันทึกและภาพถ่ายบางส่วน ที่ได้จากคุณกรณ์เดช ธนภณพงศ์ ที่ปรึกษาอุตสาหกรรม ฝ่ายการศึกษาและฝึกอบรม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ซึ่งได้ไปดูงานในเรื่อง TRIZ ประเทศญี่ปุ่น ทางทีมงานจึงขอนำบางส่วนมาลงไว้ให้ผู้อ่าน TPA Writer ได้นำไปศึกษา


...

รูปและเนื้อหาข้างล่างต่อไปนี้นำมาจากบันทึกและภาพถ่ายบางส่วน ที่ได้จากคุณกรณ์เดช ธนภณพงศ์ ที่ปรึกษาอุตสาหกรรม ฝ่ายการศึกษาและฝึกอบรม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) ซึ่งได้ไปดูงานในเรื่อง TRIZ ประเทศญี่ปุ่น ทางทีมงานจึงขอนำบางส่วนมาลงไว้ให้ผู้อ่าน TPA Writer ได้นำไปศึกษา

Product and Process Innovation by TRIZ

แนวทางการพัฒนาของ TRIZ

แนวโน้ม/แนวคิดของ การประดิษฐ์คิดค้น

เข้าใจ TRIZ จากประวัติศาสตร์

วิวัฒนาการของ TRIZ จากปี1975 ถึงปัจจุบัน

TRIZ:

Tokyo Electric Energy Museum (Shibuya)

  • Energy and Environment
    • การเรียนรู้วิวัฒนาการของพลังงานและแนวโน้มพลังงานในอนาคต
    • Electrical Supply System
  • Nuclear Power
  • การสร้างกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้

TRIZ:

Power & Industrical R&D Laboratory Hitachi .,Ltd

Activities on TRIZ and Other Techniques

  • สังกัดอยู่ในกลุ่ม Industrial System & Electrical Power System
  • มีการส่งเสริมและจัดประชุมกลุ่มแนะนำปีละ 2 ครั้ง
  • ส่งเสริมการเรียนรู้โปรแกรมIWB (Innovation Work Bench)
  • เรียนรู้เรื่อง TRIZ ,KT,QFD,TM ผ่านระบบIntranet
  • จัดบรรยายให้กับพนักงานใหม่เรื่อง TRIZ ,KT,QFD,TM


Outline of HiSPEED

  • คำขวัญ “เน้นที่ภาระหน้างานผลงานที่ยอดเยี่ยมก็จะตามมา”
  • แนวคิด: ติดอาวุธให้กับวิศวกรด้วยเทคโนโลยีใหม่และส่งเสริมให้ทำงานเป็นทีม
  • Goal:มุ่งสู่ World Class Best Process เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพที่ดี
  • เป้าหมาย
    • ลดเวลาในการพัฒนา ½ ของเวลาที่ใช้
    • ลด Defect & Rework ½ ของจำนวน Defect & Rework
    • เพิ่มน่าเชื่อถือและคุณภาพไปสู่ระดับ Six sigma

วิธีการและเทคโนโลยีที่ใช้ใน “HiSPEED”

  • QFD (Quality Function Deployment)
    • เพื่อสำรวจความต้องการของลูกค้า
  • TRIZ (Theory of Inventive Problem Solving)
    • เพื่อสร้างสรรค์แนวคิดของเทคโนโลยีใหม่ๆ
  • Taguchi Method(Robot Design Technology)
    • เพื่อสร้างเสถียรภาพในการผลิตก่อให้ผลิตภัณฑ์มีคุณภาพสูงขึ้น

ขั้นตอนการใช้ Contradiction Table

  • ประชุมกลุ่มนักประดิษฐ์เพื่อรับฟังความคิดเห็น/พิจารณาปัญหาร่วมกัน
  • ระดมสมองเพื่อหาประเด็นความขัดแย้งในการแก้ไขปัญหา/พัฒนาผลิตภัณฑ์
  • สร้างไอเดียจาก 40 หลักการสร้างสรรค์
  • เลือกบางส่วนของตารางมาใช้ให้ตรงกับปัญหา
  • ลดขนาดของตารางให้เหมาะสมกับการเลือกใช้
  • รวบรวมผลลัพธ์ที่ได้ไว้เป็นข้อมูลในการแก้ไข/พัฒนาผลิตภัณฑ์อื่นๆ

TRIZ:

Fuji Film .,Ltd

Action in Fuji of TRIZ

  • ปี1996 แนะนำและอบรม TRIZและใช้ TOPE ในการค้นหาไอเดีย ใหม่ๆ
  • ปี 2000 แนะนำและอบรมการใช้ USIT


การใช้ TRIZ ในบริษัท Fuji Photo Film

ปัญหา/อุปสรรค

  1. ยังไม่แพร่หลายในบริษัท
  2. คนที่มีความรู้เรื่อง TRIZ ย้ายตำแหน่งงาน
  3. ผู้ใช้TRIZคาดหวังผลสำเร็จสูงและคิดว่าTRIZเป็นทางลัดในการแก้ไขปัญหา
  4. TRIZ มีขั้นตอนมากและใช้งานยาก

การแก้ไข

  1. ปรับปรุงHOMEPAGE ให้มีข้อมูล TRIZ ให้ละเอียดมากขึ้น
  2. มีการบรรยายเรื่อง TRIZ ในบริษัทมากขึ้น
  3. จัดหลักสูตรให้ความรู้แก่พนักงานและให้ลงมือนำTRIZใช้ในงานประจำ
  4. นำ USIT มาใช้งาน
  5. ฝึกให้ผู้ปฏิบัติงานหาคำตอบ/ไอเดียใหม่ๆจาก TRIZ

USIT คืออะไร

  • USIT ( Unified Structure Inventive Thinking)
  • การพัฒนา TRIZ ให้ง่ายในการใช้งาน
  • ไม่ต้องใช้ Software ราคาแพง
  • ปี 1980 เริ่มต้นพัฒนาโดย Mr.Filkovsky (ชาว Israel) ในชื่อ
    • “ SIT( Systematic Inventive Thinking)”
  • ปี 1995 Dr.Sickafus ของ บริษัท ฟอร์ด ได้ใช้และเห็นผลเป็นรูปธรรม
    • (ผลลัพท์จากการใช้วัดเป็นตัวเลขในปี 1998ได้ 75 MS)
  • ปี 1998 Mr.Nakagawa นำUSIT มาเผยแพร่ใน ญี่ปุ่น --> Fuji นำไปใช้


TRIZ:

Sangakukan TLO Fair

Generative Idea มากมาย

 

พบกับ Gallery ทริปนี้จากคุณกรณ์เดชได้อีกมาก คลิกที่นี่


บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที