นิชาภา

ผู้เขียน : นิชาภา

อัพเดท: 05 ต.ค. 2009 09.15 น. บทความนี้มีผู้ชม: 11331 ครั้ง

บทความนี้ มุ่งนำเสนอและทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ในแง่มุมต่าง ๆ อันได้แก่ ความหมายและความสำคัญของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ความเป็นมาของการนำระบบดังกล่าวมาใช้ในภาคราชการไทย หลักการของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ องค์ประกอบของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ และอื่น ๆ โดยเฉพาะความเข้าใจเกี่ยวกับปัจจัยที่จะส่งผลต่อความสำเร็จของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ความเชื่อมโยงกับการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ และสิ่งสำคัญที่พึงระวังซึ่งเป็นปัญหาและอุปสรรคให้เกิดความล้มเหลวต่อการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์นี้ และยังชี้ให้เห็นเป็นการทบทวนถึงการปรับใช้องค์ความรู้เรื่องดังกล่าวในระบบบริหารภาครัฐไทยในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา โดยองค์ความรู้ในเรื่องนี้ปัจจุบันนับได้ว่ามีพลวัตที่ค่อนข้างสูง ตามกระแสความนิยมและความเปลี่ยนแปลงไปของหลักการพื้นฐานด้านรัฐประศาสนศาสตร์หรือการบริหารจัดการภาครัฐ รวมตลอดจนถึงแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศของภาคเอกชนที่หลายหน่วยงานภาครัฐใช้เป็นต้นแบบและนำมาปรับใช้กับองค์การภาครัฐเพื่อเป็นกลไกและเครื่องมือสร้างความสำเร็จในการบริหารกิจการสาธารณะ อย่างไรก็ดี บทความนี้ ไม่ได้มุ่งเนื้อหาในเชิงทฤษฎีมากนักเนื่องจากมักเป็นที่เข้าใจยากโดยเฉพาะในแง่ของการทบทวน หรือการขยายขอบเขตไปวิพากษ์แนวคิดทฤษฎี และการวิพากษ์ผลการนำระบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ไปใช้ในระบบราชการไทย เนื่องจากสิ่งเหล่านี้เป็นเรื่องที่ย่อมมีนักวิชาการผู้เชี่ยวชาญทั้งหลายเห็นต่างกันไปบ้าง และในประการหนึ่งนั้น แม้ในความเป็นจริงที่แนวคิดเรื่องการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์จะได้รับการกล่าวถึงกันอย่างกว้างขวางในรอบหลายปีที่ผ่านมา แต่สำหรับบุคลากรภาครัฐไทยในแง่ผู้ปฏิบัติเอง กลับน่าจะมีไม่มากนักที่จะเข้าใจกับมันอย่างลึกซึ้งมากไปกว่าการรับคำสั่งจากหน่วยเหนือหรือผู้บังคับบัญชาระดับบนมาปฏิบัติ


การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ให้สัมฤทธิ์ผล ตอนจบ

เอกสารอ้างอิง

 

Armstrong, M. 2006.  Strategic Human Resource Management: A Guide to Action. 3rd ed. United Kingdom: Kogan Page.

Armstrong, M., and Baron, A. 1998.  Performance Management: The New Realities. London: Institute of Personnel and Development.

Bacal, Robert. 1999.  Performance Management. New York: McGraw-Hill.

Brewer, Peter C., Davis, Stan, and Albright, Tom. 2005 (January-February). “Building the Successful Balance Scorecard Program.” Cost Management, 19:1, 28-37.

Borden, Victor M. H., and Banta, Trudy W. 1994. Using Performance Indicators to Guide Strategic Decision Making. M.A.: Jossey-Bass Publishers.

Bourne, M.,  Mill, J., Wilcox, M.,  Neely, A., and Platts, K. 2000.  “Designing, Implementing and Updating Performance Management Systems.”  International Journal of Operation and Production Management, 207.

Canadian International Development Agency. 1999. Results Based Management in CIDA : An Introductory Guide to Concept and Principles. Retrieved, September 10, 2008, from http://www.acdi-cida.gc.ca/cida_ind.nsf,2001. 

                . 2000. Training Workshop Introduction to Results-Based Management. Retrieved,

   September 10, 2008, from http://www.acdicida.gc.ca/INET/IMAGE.

   NSF/vLUImages/performancereview6/$file/Training.pdf.

Cascio, W. F. 2003.  Managing Human Resources: Productivity, Quality of Work Life, Profits. 6th ed. New York: McGraw-Hill.

Cheng, M., and Dainty, A. D. 2003.  “Implementing a New Performance Management System Within a Project-Based Organization: A Case Study.”  International Journal of Productivity and Performance Management, 56:1.

Dessler, Gary. 2003. Human Resource Management. 9th ed. New Jersey: Prentice-Hall.

Hurlock, Debb. 2000, December. Results-Based Management. Retrieved, March 2005,

   from http://www.ucgf.ca/English/Downloads/RBMrevised2003.doc.

Ivancevich, J. M.  2001. International   Human Resource Management. 8th ed. New York: McGraw-Hill/Irwin.

Julnes, Patricia deLancer, and Holzer, Marc. 2001, December-November. “Promoting the Utilization of Performance Measures in Public Organizations : An Empirical Study of Factors Affecting Adoption and Implementation.”  Public Administration Review         61:6, 693-708

Kaplan S., Robert, and Norton, David P. 1996. The Balanced Scorecard : Translation  Strategy into Action. The President and Fellows of Harvard College.

Kusek, Jody Z., and Rist, R. C. 2004. Ten-Steps to a Result-based Monitoring and Evaluation System. Washington D.C.: The World Bank.

Lawson, R., Strattan, W., and Hatch, T. 2003, November. “Winning Ways: Implementation Strategies for Balanced Scorecard Success.” CMA Management 77:7, 22-24.

Noe, R A., Hollenbeck, J. R., Gerhart, B., and Wright, P.M. 2006. Human Resource Management: Gaining Competitive Advantage. 5th ed. New York: McGraw-Hill.

Nyhan, Ronald C. and Marlowe, Herbert A. 1995, Summer.  “Performance Measurement in The Public Sector ;Challenges and Opportunities  Public Productivity & Management Review  17:4.

Reynolds and Ablett.  1998.  “ A Transforming of Rhetoric of Organizational Learning to the Reality of the Learning Organization.”  The Learning Organization 5: 1.

Simpson, R. and Hill, F.  2004.  “Squaring the Circle: Managing and Measuring Organizational Performance whilst Stimulating Change and Innovation. ”  Total Quality Management  155.

Williams, Richard S. 1998.  Performance Management : Perspectives on Employee Performance. An International Thomson Publishing Company.

กลุ่มพัฒนาระบบบริหารและสถาบันพัฒนาการชลประทาน. 2546. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์.  นนทบุรี: กรมชลประทาน

จีระพร เรืองจิระชูพร. 2549 (พฤษภาคม-สิงหาคม). “การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์อย่างประสบผลสำเร็จ.” สุทธิปริทัศน์  วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์  20: 61, 9-20.

จุมพล หนิมพานิช. 2549. การบริหารจัดการภาครัฐใหม่ : หลักการ แนวคิดและกรณีตัวอย่างของไทย. นนทบุรี: โครงการส่งเสริมการแต่งตำรา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ชัชวาลย์ ทัตศิวัช. 2552 (มกราคม-มิถุนายน). “คุณภาพการให้บริการ : ความหมาย  การวัด และการประยุกต์ในระบบบริหารภาครัฐไทย วารสารรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์.  (7: 1), 105-147. 

                .  2552, มิถุนายน. “ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานเชิงยุทธศาสตร์  รัฐสภาสาร.

ชัยวัฒน์  ปัญจพงษ์. 2520. ชีวสถิติ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช

ชัยสิทธิ์  เฉลิมมีประเสริฐ. 2544. มาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 Hurdles กับการจัดทำงบประมาณระบบใหม่. กรุงเทพฯ: ธีระฟิล์ม และไซเท็กซ์.

                .  2546. ความพร้อมของหน่วยงานภาครัฐในการบริหารจัดการระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ชาติ (Strategic Performance Based Budgeting : SPBB) และกรณีตัวอย่าง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ: ธนธัชการพิมพ์

ดนัย  เทียนพุฒ. 2544. ดัชนีวัดผลสำเร็จธุรกิจ. กรุงเทพฯ: นาโกต้า.

ทศพร  ศิริสัมพันธ์. 2543. “การบริหารผลการดำเนินงาน (Performance Management)” รวมบทความวิชาการ 100 ปี รัฐประศาสนศาสตร์ไทย. ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์. 2551.  เครื่องมือการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: รัตนไตร

ทิพาวดี เมฆสวรรค์. 2543.  การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน, อัดสำเนา

เทพศักดิ์  บุณยรัตพันธ์. 2549 (มกราคม-มิถุนายน). “การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ : แนวคิดใหม่ของการจัดการภาครัฐ.”  วารสารการจัดการสมัยใหม่  4: 1, 15-27.

นงนภัส เที่ยงกมล. 2550. การบริหารยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: แสงชัยการพิมพ์

บุญดี บุญญากิจ และกมลวรรณ  ศิริพานิช. 2546. Benchmarking ทางลัดสู่ความเป็นเลิศทางธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

พูลสุข หิงคานนท์ (2549) . ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการบริหารระบบบริการพยาบาล  ในคณะกรรมการผลิตและบริหารชุดวิชา  การพัฒนาศักยภาพระบบบริการพยาบาล หน่วยที่3,13. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

วีระยุทธ  ชาตะกาญจน์. 2547. การบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์. [Online]Available: URL:

    http://mail.rint.ac.th/~edu/w_vichakran/personal.doc.

วัฒนา  วงศ์เกียรติรัตน์. 2543.  “ การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อประเมินผลสำเร็จขององค์การ.” รวมบทความวิชาการ 100 ปี รัฐประศาสนศาสตร์ไทย. ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ และคณะ. 2530. "กลยุทธ์ทางธุรกิจ." วารสารบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร์ 1, 1: 50-56

                .  2545. ยุทธวิธีการแข่งขัน. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น                

สุจิตรา เหลืองอมรเลิศ,  ศุภวัฒนากร วงส์ธนวสุ และอภิญญา จำปามูล, (2549) กลยุทธ์การบริหารจัดการระบบบริการพยาบาล. ในคณะกรรมการผลิตและบริหารชุดวิชา  การพัฒนาศักยภาพระบบบริการพยาบาลหน่วยที่ 5. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สุพจน์  ทรายแก้ว. 2543. การวัดผลการปฏิบัติงาน. เอกสารประกอบการสัมมนาเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนกลยุทธ์ สถาบันราชภัฏเชียงราย, เอกสารอัดสำเนา.

                     .  2545. การจัดการภาครัฐแนวใหม่. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนานโยบายและการจัดการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                     .  2546. การจัดการภาครัฐแนวใหม่. พระนครศรีอยุธยา: เทียนวัฒนา

สุพจน์  บุญวิเศษ. 2549, (พฤษภาคม-สิงหาคม). “การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management) กับการประเมินผลการปฏิบัติงานในระบบราชการและเอกชน.”  วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 14:21, 1-18.

สุวรรณี แสงมหาชัย.  2544. TQM กับการปรับปรุงระบบการบริหารภาครัฐ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ


บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที