อ.อุดม

ผู้เขียน : อ.อุดม

อัพเดท: 24 พ.ย. 2006 21.12 น. บทความนี้มีผู้ชม: 37961 ครั้ง

อ่านแผนงานการนำ TQM ไปปฏิบัติ รวมทั้งอ่านบทความที่ผมมีโอกาสได้พูดคุยกับผู้บริหารต่างๆ ที่เอาระบบ TQM ไปประยุกต์ใช้


TQM Master Plan แผนงานหลักในการนำ TQM ไปปฏิบัติ

TQM Master Plan นี้เป็นแม่แบบในการนำไปดำเนินการได้ ทั้งนี้อยู่ที่องค์การเองว่ามีความจำเป็นต้องเริ่มที่ตรงไหน แต่ละองค์การไม่เหมือนกันครับ เหมาะสมตรงไหนก็นำไปประยุกต์ใช้ได้ (ไม่ได้บอกว่าต้องตามนี้นะครับ)


TQM Master Plan

 

1. ขั้นเตรียมการ

1.1 ผู้บริหารระดับสูง เข้ารับการอบรม TQM

1.2 แต่งตั้งคณะกรรมการ

·         คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ/ที่ปรึกษาภายใน

·         คณะกรรมการฝ่ายส่งเสริม / ประชาสัมพันธ์

·         จัดโครงสร้างการบริหาร แบบทับซ้อน Overlapping organization

1.3 ผู้บริหารประกาศนโยบายระยะต่างๆ

·         ระยะยาว (World Class Manufacturing)

·         ระยะกลาง (3 ปี)

o        ปีที่ 2

o        ปีที่ 3

·         ระยะสั้น 1 ปี

1.4 ให้การอบรมทั่วทั้งบริษัท

·         จัดทำคู่มือฉบับพนักงาน

1.5 จัดประชาสัมพันธ์ / แคมเปญ

·         พาไปดูงานที่ต่างๆ

·         ทำโปสเตอร์ / แผ่นพับ / จดหมายจ่าย

1.6 Kick Off

2. ขั้นเริ่มต้น

2.1 เขียนแผนย่อยประจำปี

v      แผนการดำเนิน 5

·         ขั้นที่ 1. เตรียมการ

o        กำหนดนโยบาย และจัดโครงสร้างจนถึงกลุ่มย่อย

o        คณะทำงาน

§         คณะทำงานวิชาการ-วิทยากรภายใน

§         คณะทำงานฝ่ายประชาสัมพันธ์

o        แบ่งพื้นที่ และกำหนดผู้รับผิดชอบ

o        กำหนดมาตรฐานขั้นต้น / เทคนิคที่จำเป็น

§         จัดทำป้ายแดง / มาตรฐานการกำจัด / พื้นที่ชั่วคราวที่ใช้วางของป้ายแดง

§         กำหมดมาตรฐานการใช้สี ในการขีดสีตีเส้น และป้านสัญญลักษณ์ต่างๆ

§         กันพื้นที่เพื่อเก็บรายการป้ายแดงที่รอการตัดสินใจ

o        เตรียมคู่มือ 5ส. สำหรับพนักงาน

o        ให้ความรู้และฝึกอบรม

§         ฝึกอบรม Manager Model Area

§         อบรม

§         พาไปดูงาน

o        ประชาสัมพันธ์

o        เตรียมบอร์ด 5ส.ของแต่ละพื้นที่

o        กำหนดวันทำความสะอาดใหญ่

o        จัดสรรงบประมาณในการดำเนินงานต่างๆ

o        จัดซื้อ / จัดหา อุปกรณ์ที่จำเป็นเหมาะสมในการทำความสะอาดอย่างเพียงพอ

§         เตรียมสี เทปสี กระดาษ ปากกา ที่ใช้สำหรับทำ ส.สะดวก

o        Kick off

·         ขั้นที่ 2. ลงมือปฏิบัติ

o        ทำความสะอาดใหญ่

o        ดำเนินการปรับปรุงตามแนวทาง 5ส. ขั้นที่ 1.สร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อยและสะอาดหมดจด

§         ติดป้ายแดง แล้วกำจัด (ตามมาตรฐานที่กำหนดไว้)

§         ขีดสีตีเส้น ตามมาตรฐานการใช้สี ตามความเหมาะสม

·         สำรวจพื้นที่ ที่ต้องขีดสีตีเส้น

·         สำรวจจุดอันตราย

·         สำรวจจุดที่ต้องสร้างระบบการจราจร

§         กำหนดระบบในการจัดเก็บ

·         ทบทวน layout อะไรเข้า อะไรออก และวางที่ไหน ปริมาณเท่าไหร่

·         ใช้หลัก 3 มี

·         สำรวจที่วาง WIP

§         กำหนดเวรทำความสะอาด

·         ย่อยงานทำความสะอาดให้แต่ละคนในพื้นที่ทำงานให้ทำเสร็จภายใน 5 นาที

o        ดำเนินการปรับปรุงตามแนวทาง 5ส. ขั้นที่ 2. สร้างนิสัยการทำ 5ส. (EFFECTIVE 5S)

o        ดำเนินการปรับปรุงตามแนวทาง 5ส. ขั้นที่ 3. ยกระดับการทำ 5ส. ไปสู่ระดับที่สูงขึ้น (PREVENTIVE 5S)

·         ขั้นที่ 3. ตรวจสอบผลเทียบกับแผน

o        ดำเนินการขั้นที่ 1 สร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อยและสะอาดหมดจด (ACTIVE 5S)

§         นำเสนอผลงาน และตรวจประเมินประจำเดือน

§         นำเสนอผลงานและตรวจประเมินประจำปี

§         สมัครขอรับรางวัล 5ส. ที่ สสท.

o        ดำเนินการขั้นที่ 2. สร้างนิสัยการทำ 5ส. (EFFECTIVE 5S)        

§         นำเสนอผลงานและตรวจประเมิน 3 ระดับ

§         นำเสนอผลงานและตรวจประเมินประจำปี

§         สมัครขอรับรางวัล 5ส. ที่ สสท.

o        ดำเนินการขั้นที่ 3. ยกระดับการทำ 5ส. ไปสู่ระดับที่สูงขึ้น (PREVENTIVE 5S)

§         นำเสนอผลงานและตรวจประเมิน 3 ระดับ

§         นำเสนอผลงานและตรวจประเมินประจำปี

§         สมัครขอรับรางวัล 5ส. ที่ สสท.

·         ขั้นที่ 4. กำหนดมาตรฐานพื้นที่ และทบทวนแผนประจำปี

o        ทบทวนแผนปีที่ 1.

o        ทบทวนแผนปีที่ 2.

o        ทบทวนแผนปีที่ 3.

 

v      แผนการดำเนินการแก้ไขปัญหา

·         อบรม การแก้ไขปัญหาในงานประจำ

o        ข้อกำหนดหน้าที่งาน         

o        ผังการไหลของงาน

o        จุดตรวจสอบจุดควบคุม

o        การติดตามจุดควบคุม

o        การแก้ไขปัญหา

§         การวิเคราะห์หาสาเหตุ

§         การกำหนดมาตรการใหม่ / การกำหนดมาตรฐาน

§         การทบทวนผังการไหลของงาน

§         การทบทวนจุดตรวจสอบ / จุดควบคุม

·         QC Story กับปัญหาเรื้อรัง

o        7 ขั้นตอนในการแก้ไขปัญหา

o        7 QC Tools

3. ขั้นปฏิบัติและขยายผล

3.1 ทบทวนแผนปีที่ 1.

3.2 จัดทำแผนปีที่ 2.

3.3 จัดทำแผนปีที่ 3.

4. ขั้นการตรวจสอบผล

4.1 ติดตามแผนงานย่อย ประจำเดือน

v      แผนกรรมการวิชาการ

v      แผนกรรมการประชาสัมพันธ์

v      ความคืบหน้าของกิจกรรมของแต่ละแผนก / กลุ่มย่อย

5. ขั้นตอนการทบทวน

5.1 สั่งการให้แผนก / หน่วยงานย่อย ดำเนินการตามแผนให้สำเร็จภายในเดือน

5.2 วิเคราะห์ Work Load / Man Power หากกิจกรรมไม่คืบหน้า

5.3 วิเคราะห์ใบรายงานไคเซ็น







 


บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที