มานพ

ผู้เขียน : มานพ

อัพเดท: 15 พ.ย. 2008 16.55 น. บทความนี้มีผู้ชม: 500586 ครั้ง

สถาบันการศึกษาเอกชนในยุคปัจจุบันจะต้องปรับตัวอย่างมาก เพื่อการแข่งขันกับสถาบันของรัฐ หรือแม้แต่เอกชนด้วยกันเองเพราะเนื่องมาจากพลวัตรของโลกการศึกษาที่เปลี่ยนไปอย่างต่อเนื่องและตลอดเวลา เช่น มีการขยายโอกาสรับนักศึกษามากขึ้น โอกาสจากนโยบายการให้เงินกู้เพื่อการศึกษา ตลอดจน มีการเปิดหลักสูตรใหม่และเพิ่มจำนวนนักเรียนนักศึกษามากขึ้น สถาบันการศึกษาทุกแห่งจะต้องปรับกระบวนทัศน์การบริหารจัดการอย่างมากเพื่อความอยู่รอดและอยู่ได้ ดังนั้นหากประยุกต์ระบบบริหารจัดการ ISO มาใช้จะเป็นไปได้หรือไม่ มีข้อจำกัดอย่างไร


การจัดทำ CHECK LIST

สำหรับการเริ่มจัดทำ  Check  list   นั้น  เริ่มจาก   การพิจารณาดูข้อกำหนด  ทุกข้อ  และตั้งคำถามกับฝ่ายนั้นๆ   โดยแต่ละทีม   ขั้นตอนนี้มักทำก่อน  IQA  เสมอ   โดยLEAD   AUDITOR  ของแต่ละทีม  ภายใต้คำถาม  5 w 1 H    กล่าวคือ   การตั้งคำถามเพื่อตรวจสอบการดำเนินงานของฝ่ายต่าง ๆว่าเป็นไปตามข้อกำหนดไหม    เช่น 

                มีระบบการควบคุมเอกสารตามขั้นตอนที่กำหนดไว้หรือไม่  อย่างไร

                      มีทะเบียนการควบคุมการบันทึกการใช้เอกสารในฝ่ายหรือไม่  อย่างไร

                      มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการติดตามพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษาหรือไม่  อย่างไร

ชื่อกระบวนการ (Process Name)  :  กระบวนการติดตามพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษา

ข้อกำหนด

(Audited

Requirements)

 

รายการคำถาม

(Check  List)

ทวนสอบผล / หาข้อมูลเพิ่มเติม

(Audit  trail  Follow  up)

พบ

(YES)

ไม่พบ

(NO)

9.2.9  กระบวนการติดตามพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษา

4.2.3

การควบคุมเอกสาร

1. มีระบบการควบคุมเอกสารตามขั้นตอนที่กำหนดไว้หรือไม่  อย่างไร

 

 

 

 

 

4.2.4

การควบคุมเอกสาร

2. มีทะเบียนการควบคุมการบันทึกการใช้เอกสารในฝ่ายหรือไม่  อย่างไร

 

 

 

 

5.3

นโยบายคุณภาพ

3. มีการปฏิบัติเกี่ยวกับการติดตามพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษาอันเป็นปฏิปักษ์ต่อนโยบายคุณภาพหรือไม่อย่างไร

 

 

 

5.6

การทบทวนฝ่ายบริหาร

4. มีการนำปัญหาการดำเนินงานเกี่ยวกับกระบวนการติดตามพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษาทบทวนเพื่อหาสาเหตุและกำหนดแนวทางการแก้ปัญหาหรือไม่   อย่างไร

 

 

 

 

5.4.1

วัตถุประสงค์ด้านคุณภาพ

5.  มีการกำหนดวัตถุประสงค์คุณภาพเกี่ยวกับการพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษาหรือไม่อย่างไร

 

 

 

 

 

5.4.2

การวางแผนระบบบริหารคุณภาพ

6. ได้มีการกำหนดแผนงานการติดตามพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษา  หรือไม่  อย่างไร

 

 

 

 

6

ทรัพยากร

7.  มีการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการติดตามพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษาหรือไม่  อย่างไร

 

 

 

 

 

 

 

 

8.2.2

การตรวจประเมินภายใน

8. มีการกำหนดขอบเขต/ระยะเวลาในการติดตามพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษา หรือไม่  อย่างไร

 

 

 

8.2.3

การเฝ้าติดตามและการวัดกระบวนการ

9. มีการติดตามการดำเนินงานของกระบวนการติดตามพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักศึกษา

หรือไม่  อย่างไร

 

 

 

8.2.4

การเฝ้าติดตามและวัดผลิตภัณฑ์

10. มีการติดตามนักศึกษาที่มีพฤติกรรมไม่พึงประสงค์หรือไม่  อย่างไร

 

 

 

8.4

การวิเคราะห์ข้อมูล

11. มีการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ไม่พฤติประสงค์ของนักศึกษาหรือไม่ อย่างไร

 

 

 

Ref. QP-PBD-xx                                                                                                                                                FM-QM-xx

                                                                                                                                                                ปรับปรุงครั้งที่ 01(dd/mm/yy)


บทความนี้เกิดจากการเขียนและส่งขึ้นมาสู่ระบบแบบอัตโนมัติ สมาคมฯไม่รับผิดชอบต่อบทความหรือข้อความใดๆ ทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือไม่ ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และหากท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม หรือทำให้เกิดความเสียหาย หรือละเมิดสิทธิใดๆ กรุณาแจ้งมาที่ ht.ro.apt@ecivres-bew เพื่อทีมงานจะได้ดำเนินการลบออกจากระบบในทันที